Author : คณาวุฒิ เจียมวัฒนพงศ์
Publishing Date : May 10, 2017
เนื้อรายวิชาสถิติทั่วไปผู้เขียนพยายามเรียบเรียงเนื้อหาให้เหมาะกับผู้เรียนที่ไม่ใช่นักศึกษาวิชาเอกสถิติโดยตรง เช่น นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ และนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เพื่อนักศึกษาจะสามารถศึกษาวิชานี้สำเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดีและสามารถประยุกต์ใช้งานวิชาสถิติได้อย่างเหมาะสมทั้งในวิชาชีพและในชีวิตประจำวัน อีกทั้งยังเป็นพื้นฐานสำหรับการศึกษาวิชาสถิติในระดับที่สูงขึ้นด้วย
Author : สมใจ ศรีเนตร
Publishing Date : Jul 20, 2020
ตำราวิชาการเป็นผู้ประกอบการเพื่อสร้างธุรกิจใหม่ รหัสวิชา BUA 4132 ได้เรียบเรียงขึ้น อย่างเป็นระบบครอบคลุมเนื้อหาสาระตามคำอธิบายรายวิชาในหมวดวิชาชีพ ตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต เพื่อใช้ในการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษาหรือผู้ที่สนใจในวิชาดังกล่าว สามารถ อ่านและทำความเข้าใจในเนื้อหาได้ด้วยตนเอง เพื่อนำไปใช้ในวิชาชีพต่อไปได้
Author : พรทิพย์ บุญทรง
Publishing Date : Apr 26, 2017
ตำราเล่มนี้ ผู้เรียบเรียงได้เรียบเรียงจากความรู้ที่ได้จากการศึกษาในหลักสูตรสาขาบริหารธุรกิจทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท รวมถึงประสบการณแการสอนในรายวิชาทางด้านบริหารธุรกิจ เช่น พฤติกรรมองคแการ การเงินธุรกิจ ภาษีอากร เทคนิคการจัดการสมัยใหม่ และการศึกษาความเป็นไปได้ในการบริหารโครงการอุตสาหกรรม เป็นต้น เนื้อหา ส่วนใหญ่เป็นความรู้พื้นฐานที่ผู้ประกอบการควรทราบ เพื่อเป็นการจุดประกายสู่การเป็นเจ้าของธุรกิจแก่นักศึกษา หรือผู้อ่าน หรือเพื่อการศึกษาเชิงลึกต่อไป
Author : มาลัย กมลสกุลชัย
Publishing Date : Nov 08, 2018
ตำราเล่มนี้ประกอบด้วยเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการวางระบบบัญชี จำนวน 12 หน่วย คือหน่วยที่ 1. ลักษณะของระบบบัญชีและการสำรวจธุรกิจเบื้องต้น หน่วยที่ 2. การควบคุมภายใน หน่วยที่ 3. และหน่วยที่ 4. การใช้และการออกแบบเอกสารหรือแบบฟอร์มทางธุรกิจและออกแบบสมุดลงรายการเบื้องต้น หน่วยที่ 5. ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อและการควบคุมสินค้าคงคลัง หน่วยที่ 6. ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและการควบคุมลูกหนี้ หน่วยที่ 7. ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด หน่วยที่ 8. ระบบบัญชีค่าตอบแทน หน่วยที่ 9. ระบบบัญชีธุรกิจที่มีการผลิตสินค้าหน่วยที่ 10. ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หน่วยที่ 11. ระบบบัญชีเกี่ยวกับธุรกิจให้บริการและหน่วยที่ 12. รายงานทางการเงินตามลักษณะของธุรกิจ
Author : ฉันทมน โพธิพิทักษ์
Publishing Date : Jul 04, 2017
Author : เสกสรร จันทรจำนง
Publishing Date : Jan 07, 2022
ตำรา "ภาษาญี่ปุ่นอุตสาหกรรม" เล่มนี้ เหมาะสำหรับผู้ที่ศึกษาภาษาญี่ปุ่นชั้นต้นมาแล้ว และต้องการเรียนรู้คำศัพท์และสำนวนภาษาญี่ปุ่นเฉพาะทางด้านการผลิต หรือ ภาษาญี่ปุ่นที่ใช้ สื่อสารในการทำงานโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มเติม ตำราประกอบไปด้วย 15 บท ซึ่งแต่ละบทนำเสนอคำศัพท์และสำนวนภาษาญี่ปุ่นในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
Author : มัณฑนา เทียมทัด
Publishing Date : Apr 26, 2017
เป็นตำราที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน รายวิชา THA 1003 การพูดและการเขียนเชิงวิชาชีพ สาหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี ซึ่งมีเนื้อหา สาระเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด หลักการพูด การปฏิบัติระหว่างการพูด การพูดในชีวิตประจาวัน ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียน หลักการเขียน การเขียนข่าว และการเขียนบทความ
Author : ธนพล จุลกะเศียน
Publishing Date : Feb 11, 2020
รายละเอียดของเนื้อหาภายในหนังสือเล่มนี้ เป็นความรู้ขั้นพื้นฐานที่ประกอบด้วยทั้งด้านทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อจะช่วยให้ผู้อ่านเกิดความรู้ ความเข้าใจ ในภูมิปัญญาของไทยในด้านงานศิลปกรรม สามารถนาเอาภูมิปัญญาของไทยไปพัฒนาต่อยอดแนวความคิดและประยุกต์สร้างสรรค์เป็นผลงานออกแบบในสื่อดิจิทัล รวมถึงเพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าและความสาคัญของภูมิปัญญาที่เป็นรากฐานทางวัฒนธรรมของไทย
Author : ประธาน ยานกูลวงศ์
Publishing Date : Nov 09, 2017
Author : พสิษฐ์ นิติวรคุณาพันธุ์
Publishing Date : Nov 08, 2018
เนื้อหาในตำรานี้มีทั้งหมด 5 บท ซึ่งตามคำอธิบายรายวิชามีจุดมุ่ง หมายเพื่อศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบพื้นฐาน การจัดองค์ประกอบศิลป์และ หลักการออกแบบประเภทต่าง ๆ ทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ใน การออกแบบเนื้อที่ใช้สอยทางสถาปัตยกรรม
Author : พิมุข สุศีลสัมพันธ์
Publishing Date : Oct 17, 2018
ตารานี้เรียบเรียงขึ้น เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนแก่นักศึกษาและผู้สนใจศึกษาเกี่ยวกับหลักกฎหมายธุรกิจ โดยเนื้อหาของตาราจะเน้นอธิบายบทบัญญัติของกฎหมายในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เป็นสาคัญ อันประกอบด้วยการตีความและการอุดช่องว่างของกฎหมาย หลักทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิและการใช้สิทธิบรรพ ฯ
Author : วิภาวรรณ ทองเนียม
Publishing Date : Oct 17, 2018
ตาราเล่มนี้ รวบรวมหลักวิชาการและความรู้พื้นฐานที่มีความสาคัญต่อการบริหารจัดการและมีผลต่อความสาเร็จขององค์การ ซึ่งเป็นการรวบรวมข้อมูลจากตาราวิชาการ หนังสืออ้างอิง แหล่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์และการนาเสนอตัวอย่าง รวมถึงการคัดลอกกรณีศึกษาจากเว็บไซต์ที่เป็นบทความ เป็นเรื่องเล่า หรือประสบการณ์ ฯ